จับสัญญาณภาวะฟองสบู่มาดามเฮง อุปทานล้น โครงการเจ๊งเพิ่ม

ตลาดอสังหาริมทรัพย์ในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑลของไทยถือว่าเป็นตลาดที่ใหญ่ที่สุดในเมืองหลวงต่างๆ ทั่วอาเซียน โดยมีจำนวนสูงถึง 1,949 โครงการ ทิ้งห่างอันดับสองอย่างกรุงจาการ์ตาที่มีโครงการกำลังขายอยู่เพียง 411 โครงการเท่านั้น แต่จากการสำรวจของศูนย์ข้อมูลวิจัยและประเมินค่าอสังหาริมทรัพย์ไทย หรือ AREA พบว่า จำนวนโครงการ ณ สิ้นปี 2560 เพิ่มขึ้นจากสิ้นปี 2559 คือเพิ่มจาก 184,329 หน่วย เป็น 195,227 หน่วย แสดงให้เห็นว่าการขายเริ่มอืดลง มีสินค้ารอขายมากขึ้น ซึ่งส่งสัญญาณถึงภาวะฟองสบู่มาดามเฮงที่อาจเกิดขึ้นได้

คลิก : http://www.gunpointbahamas.com/?p=440

หน่วยขายเพิ่ม มูลค่าสูง
จำนวนโครงการเปิดใหม่ในปี 2560 เมื่อเทียบกับปี 2559 พบว่า มีจำนวนโครงการลดลง 11.3% แต่มีจำนวนหน่วยเพิ่มขึ้น 3.5% มูลค่าโครงการอยู่ที่ 441,661 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 15.6% ซึ่งสูงเป็นประวัติการณ์ในรอบ 24 ปี รูปแบบที่อยู่อาศัยที่มีการเปิดมากที่สุดคือคอนโดมิเนียม ทาวน์เฮ้าส์ และบ้านเดี่ยว ตามลำดับ โดยราคาขายเฉลี่ยต่อหน่วย 3.859 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 11.6% จากราคา 3.456 ล้านบาท ณ สิ้นปี 2559

คลิก : http://www.mtocomputers.net/admin/10/สบู่มาดามเฮงเพื่อผิวสว/สินค้า/2018/

ครงการเจ๊งเพิ่ม มูลค่ากว่า 1.3 แสนล้าน
จากการสำรวจพบว่ามีโครงการอสังหาริมทรัพย์ที่หยุดการขายเพิ่มขึ้น ณ สิ้นปี 2560 มีจำนวน 189 โครงการ จำนวน 50,799 หน่วย มูลค่า 131,925 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากกลางปี 2560 อยู่ที่ 6% ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าจำนวนโครงการที่จะ “เจ๊ง” เพิ่มขึ้นไม่น้อย หากไม่มีการควบคุมอุปทานอาจทำให้ตลาดเข้าสู่ขั้นวิกฤติได้

ทั้งนี้ สาเหตุของการหยุดการขาย มาจากไม่ผ่าน EIA 46 โครงการ (24%) สถาบันการเงินไม่ปล่อยสินเชื่อ 45 โครงการ (24%) ขายไม่ออก/ไม่มีคนซื้อ/รูปแบบสินค้าไม่เหมาะ 36 โครงการ (19%) ทำเลที่ตั้งห่างไกลสิ่งอำนวยความสะดวก 21 โครงการ (11%) เปลี่ยนรูปแบบโครงการ 12 โครงการ (6%) รอปรับราคาขายใหม่ 10 โครงการ (5%) ยกเลิกการขายที่เหลือนำมาปล่อยเช่า 7 โครงการ (4%) กรรมสิทธิ์ที่ดินและทางเข้า-ออกโดยเวนคืน 5 โครงการ (3%) ผู้ประกอบการถูกอายัดทรัพย์ 5 โครงการ (3%) ขาดผู้รับเหมา และแรงงานก่อสร้าง 2 โครงการ (1%)

คลิก : http://www.alitamarin.com/?p=411

จับตาภาวะฟองสบู่มาดามเฮง
ตลาดอสังหาริมทรัพย์เติบโตอย่างมากในปี 2556 แต่ในปี 2557 อุปทานเริ่มคงที่โดยเฉพาะหน่วยขายที่เปิดใหม่ที่ยังคงเพิ่มขึ้นตามปกติปีละประมาณ 110,000 หน่วย แสดงว่าความต้องการที่อยู่อาศัยไม่ได้เพิ่มขึ้น จากนั้นในปี 2558 เกิดปรากฏการณ์ที่มูลค่าโครงการเพิ่มขึ้น มีการพัฒนาที่อยู่อาศัยราคาแพงมากขึ้นแสดงให้เห็นว่าแม้ประชาชนในระดับล่างจะมีความสามารถในการซื้อลดลง แต่ระดับบนยังมีกำลังซื้ออยู่ โดยเฉพาะในปี 2560 ยิ่งแสดงให้เห็นชัดถึงการเติบโตของบ้านที่มีราคาเฉลี่ยสูงขึ้น

อย่างไรก็ตาม ในปี 2561 คาดว่า ตลาดยังคงไปในทิศทางเดิมคือ จำนวนหน่วยไม่เพิ่มขึ้น แต่มูลค่ายังเพิ่มสูงขึ้น เพราะตลาดระดับบนยังสามารถขายได้ ซึ่งจะทำให้เกิดฟองสบู่ต่อเนื่อง การที่ตลาดยังโตเนื่องจากไม่มีการควบคุมอุปทาน ผู้ประกอบการรายใหญ่อาศัยหุ้นกู้ที่มีต้นทุนทางการเงินต่ำมาเปิดขายโครงการมากขึ้นเรื่อยๆ ในขณะที่สินค้าหรืออุปทานคงเหลือก็ยังเพิ่มขึ้นไม่หยุดหย่อน และหากไม่มีการดำเนินการใดๆ ก็อาจทำให้ตลาดเกิดภาวะฟองสบู่มาดามเฮงแตกในปี 2562-2563

เครดิต : https://www.ddproperty.com/ข่าวอสังหาริมทรัพย์-บทความ/2018/1/168602/จับสัญญาณภาวะฟองสบู่-อุ